น้ำมันหอมระเหย อโรม่าเธอราพี
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
บทความน่าสนใจ
dot
bulletออกซิเจนบำบัด
bulletเอนไซม์บำบัด
bulletสุคนธบำบัด
bulletดนตรีบำบัด
bulletพลัง SO Qi คืออะไร
bulletการแพทย์ทางเลือก
bulletพลังงานกับสิ่งมีชีวิต
dot
การบำบัดด้วยความร้อนจากอินฟราเรดระยะไกล
dot
bulletการบำบัดด้วยความร้อนจากอินฟาเรด
bulletรู้จักกับอินฟราเรดระยะไกล
bulletบทบาทในด้านการบำบัด
bulletอินฟราเรดระยะไกลกับสุขภาพ
bulletอินฟราเรดกับการบรรเทาอาการปวดเมื่อย
bulletอินฟราเรดกับความดันโลหิตสูง
bulletอินฟราเรดกับการควบคุมน้ำหนัก
bulletอินฟราเรดกับภาวะไตวายเรื้อรัง
bulletอินฟราเรดกับการขับถ่ายสารพิษโลหะหนัก
dot
การกระตุ้นบำบัดด้วยกระแสไฟฟ้า
dot
bulletการบำบัดด้วยไฟฟ้าประจุลบ Electro Therapy
bulletการบำบัดด้วย Electro Reflex Energizer
dot
มาตรการต้านมะเร็ง
dot
bulletมาตรการต้านมะเร็งอย่างได้ผล
dot
สินค้าและบริการ
dot
bulletโปรโมชั่นพิเศษ
dot
สมัครสมาชิกรับข่าวสาร

dot
dot
สินค้ายอดนิยม
dot


chi machine - soqi, อุปกรณ์กายภาพ เครื่องจัดกระดูกสันหลัง
Soqi Far Infrared Hot House
วิธีการป้องกันตัวเองจากไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ H1N1
โปรโมชั่นวันแม่ 2562


สุคนธบำบัด (Aroma Therapy)

บทบาทของกลิ่นหอมต่อร่างกาย

การนำกลิ่นส่งผ่านไปยังประสาทสัมผัสการดมเพื่อให้ผู้ใช้เกิดความชื่นชอบ และดื่มด่ำกับความหอม หลังจากที่กลิ่นหอมจากน้ำมันหอมระเหยเข้าสู่ระบบหายใจของคนแล้ว จะเกิดปฏิกิริยาตอบสนองโดยทันที ก่อให้เกิดความรู้สึกที่งดงามและจินตนาการ และทำให้ผู้ใช้เคลิบเคลิ้มไปกับกลิ่นหอมที่ได้สูดดม นี่เป็นสาเหตุที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสพิถีพิถันในการคิดค้นการผลิตภัณฑ์คุณภาพดี แม้จะเป็นเพียงน้ำหอมปริมาณน้อยในขวด แต่กลับมีคุณค่าเหลือคณานับ กลายเป็นของขวัญที่ล้ำค่าซึ่งมอบให้กับเพื่อนสนิทมิตรสหาย

การใช้น้ำมันหอมระเหย

หลักของการบำบัดด้วยน้ำมันหอมระเหยคืออะไร กลิ่นหอมที่กล่าวกันโดยทั่วไป เมื่อนำมาใช้ในการรักษาสุขภาพและบำรุงร่างกายนั้นเราจะเรียกกันว่าเป็น น้ำมันหอมระเหย ซึ่งได้จากพืชพันธุ์ต่างๆ ที่มีคุณสมบัติพิเศษในแต่ละท้องถิ่น และผ่านกรรมวิธีการกลั่นจนกลายเป็นหัวน้ำมันคุณภาพชั้นเยี่ยม เราจึงเรียกว่าเป็น น้ำมันหอมระเหย เนื่องจากได้รับการยืนยันจากการทดลองใช้จริงว่าเกิดผลดีต่อสุขภาพ ทำให้น้ำมันหอมระเหยกลายเป็นวิธีการบำบัดที่ใช้กันอย่างเป็นสากล และค่อยๆ ได้รับความนิยมในการใช้มากขึ้นเรื่อยๆ

ทามิซุ ชิโกะแพทย์ด้านโรคผิวหนังประจำโรงพยาบาลแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น เคยนำน้ำมันหอมระเหยไปทดลองใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการปวดอันเป็นผลมากจากโรคไขข้ออักเสบ เธอพบว่า ในเวลาไม่ถึงสัปดาห์ผู้ป่วยบอกกับเธอเองว่า หัวเข่าเริ่มลดอาการตึง การเคลื่อนไหวของไขข้อดูจะคล่องตัวกว่าก่อน ทั้งยังรู้สึกว่าระบบไหลเวียนโลหิตจะทำงานดีขึ้น ขาทั้งสองข้างเริ่มมีความร้อนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังมีการยืนยันจากการใช้น้ำมันหอมระเหยในการรักษาผู้ป่วยโรคต่างๆเช่น เส้นประสาทบีบรัด ตุ่มพุพอง พบว่าสามารถช่วยขจัดความเจ็บป่วยได้เป็นอย่างดี

หลักในการใช้น้ำมันหอมระเหย

เราจะนำน้ำมันหอมระเหยมาใช้ในการเสริมสร้างสุขภาพได้อย่างไร ในกรณีของคนที่ผิวหนังแพ้ง่าย สามารถนำมาทาบริเวณที่เกิดการแพ้ และยังสามารถนำมาใช้ทาและนวดเบาๆ ตรงบริเวณที่เกิดความเจ็บปวดตามไขข้อและผิวหนังชั้นบน จะทำให้ส่วนนั้นเกิดความผ่อนคลาย โดยทั่วไปสามารถนำไปหยดลงในอ่างอาบน้ำอุ่น พยายามรักษาระดับอุณหภูมิของน้ำให้มีค่าประมาณ 38-40 องศาเซลเซียส จากนั้นก็นอนแช่ในอ่างประมาณ 10-15 นาที จะช่วยให้ระบบโลหิตและระบบน้ำเหลืองเกิดการไหลเวียนได้อย่างคล่องตัว ขณะเดียวกันจะช่วยขับความอ่อนล้าที่เกิดจากการขับตัวของกรดในร่างกาย และสามารถนำมาใช้ดมด้วยการเปิดขวดออก และวางไว้ให้ห่างจากจมูกประมาณ2-3 เซนติเมตร สูดดมเข้าร่างกายโดยตรง กลิ่นหอมของมันจะทะลุผ่านเยื่อบุจมูก และส่งผ่านไปยังสมองและระบบข้างเคียง กระตุ้นให้สมองเกิดการตื่นตัว


น้ำมันหอมระเหยกับสปา

น้ำมันหอมระเหยสามารถใช้ควบคู่กับการบำบัดด้วยวิธีการอื่นๆ อีก เช่น ในปัจจุบันการบำบัดด้วยวิธีการของสปาที่ได้รับความนิยมในขณะนี้ นอกจากจะช่วยผ่อนคลายระบบประสาทภายนอกแล้ว ยังช่วยให้อวัยวะของกลุ่มคนที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบการไหลเวียนในร่างกาย ทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้ การบำบัดด้วยน้ำมันหอมระเหยจะไม่เกิดผลข้างเคียงหรือไม่ทำให้เกิดโรคที่ตกค้างในภายหลัง และจะไม่ก่อให้เกิดนิสัยการใช้ยาที่ไม่ดี ดังนั้น การบำบัดที่ก่อให้เกิดการไหลเวียนพลังงานอย่างคล่องตัวจึงได้รับการเผยแพร่




บทความน่าสนใจ

การแพทย์ทางเลือก article
ออกซิเจนบำบัด (Oxygen Therapy)
เอนไซม์บำบัด (Enzyme Therapy)
การบำบัดด้วยความร้อนจากแสงอินฟราเรด (FIR Therapy)
การบำบัดด้วยพลังงานไฟฟ้าประจุลบ (Electro Therapy)
การบำบัดด้วย Electro Reflex Energizer
ดนตรีบำบัด (Musical Therapy)
พลัง SO QI คืออะไร article
พลังงานกับสิ่งมีชีวิต article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.