คำถาม/คำตอบเกี่ยวกับเอนไซม์
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
บทความน่าสนใจ
dot
bulletออกซิเจนบำบัด
bulletเอนไซม์บำบัด
bulletสุคนธบำบัด
bulletดนตรีบำบัด
bulletพลัง SO Qi คืออะไร
bulletการแพทย์ทางเลือก
bulletพลังงานกับสิ่งมีชีวิต
dot
การบำบัดด้วยความร้อนจากอินฟราเรดระยะไกล
dot
bulletการบำบัดด้วยความร้อนจากอินฟาเรด
bulletรู้จักกับอินฟราเรดระยะไกล
bulletบทบาทในด้านการบำบัด
bulletอินฟราเรดระยะไกลกับสุขภาพ
bulletอินฟราเรดกับการบรรเทาอาการปวดเมื่อย
bulletอินฟราเรดกับความดันโลหิตสูง
bulletอินฟราเรดกับการควบคุมน้ำหนัก
bulletอินฟราเรดกับภาวะไตวายเรื้อรัง
bulletอินฟราเรดกับการขับถ่ายสารพิษโลหะหนัก
dot
การกระตุ้นบำบัดด้วยกระแสไฟฟ้า
dot
bulletการบำบัดด้วยไฟฟ้าประจุลบ Electro Therapy
bulletการบำบัดด้วย Electro Reflex Energizer
dot
มาตรการต้านมะเร็ง
dot
bulletมาตรการต้านมะเร็งอย่างได้ผล
dot
สินค้าและบริการ
dot
bulletโปรโมชั่นพิเศษ
dot
สมัครสมาชิกรับข่าวสาร

dot
dot
สินค้ายอดนิยม
dot


chi machine - soqi, อุปกรณ์กายภาพ เครื่องจัดกระดูกสันหลัง
Soqi Far Infrared Hot House
วิธีการป้องกันตัวเองจากไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ H1N1
โปรโมชั่นวันแม่ 2562


คำถาม/คำตอบเกี่ยวกับเอนไซม์

Q: เอนไซม์คืออะไร

A: เอนไซม์เป็นโมเลกุลของโปนตีน ใช้พลังงานในการสร้างพลังงานที่จำเป็นต่อทุกปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในร่างกายของเรา โดยจะมีเอนไซม์ประมาณ 2,700 ชนิดที่ถูกค้นพบในร่างกายมนุษย์เอนไซม์จะทำงานร่วมกับโคเอนไซม์ เพื่อใช้ในการสร้างสารเคมีกว่า 10,000 ที่ช่วยในการมองเห็น ได้ยินเสียง ช่วยให้คุณรู้สึกได้ การเคลื่อนไหว การย่อยอาหาร และการนึกคิด ในทุกๆ อวัยวะ ทุกๆ เนื้อเยื่อ และทุกๆล้านๆ เซลล์ในร่างกายจะขึ้นอยู่กับ เมตาบอลิซึมของเอนไซม์และพลังงานที่เอนไซม์สร้างขึ้น ดังนั้นเราจะไม่สามารถอธิบายคำว่าโภชนาการได้เลยถ้าไม่กล่าวถึงบทบาทที่สำคัญของเอนไซม์นี้

Q: คุณสามารถให้คำนิยามคำว่าโภชนาการได้หรือไม่

A: โภชนาการ คือความสามารถของร่างกายที่จะรับสารอาหาร 45 ชนิด ให้เข้าสู่ร่างกายในปริมาณที่เหมาะสมได้ แล้วย่อยสลายสารอาหารเหล่านั้นอีกทั้งการดูดซึมและการพาสารอาหารที่ดูดซึมได้เข้าสู่เซลล์ รวมถึงเมตาบอลิซึมของสารอาหารเหล่านั้น และกิจกรรมในการกำจัดสารพิษได้

สารอาหารทั้ง 45 ชนิด ได้แก่

  • ไขมัน
  • โปรตีน
  • น้ำ
  • กรดอะมิโน 9 ชนิด
  • วิตามิน 13 ชนิด
  • เกลือแร่ 19 ชนิด

การกินอาหารเล่านี้ในปริมาณที่เหมาะสมจะทำให้แน่ใจได้ว่าคุณได้รับโภชนาการที่ดี เอนไซม์มีหน้าที่ในการย่อยสลายอาหารดูดซึม ขนส่ง และกำจัดของเสียที่เกิดจากการใช้สารอาหารเหล่านั้น ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าเซลล์ทุกๆ เซลล์นั้นขึ้นอยู่กับการทำงานของเอนไซม์และพลังงานที่เอนไซม์สร้างขึ้น

Q: คุณรู้ไหมว่าพลังงานที่เอนไซม์สร้างขึ้นนั้นคืออะไร

A: พลังงานที่เอนไซม์สร้างขึ้นนั้นคือ พลังงานที่ก่อให้เกิดหรือเป็นจุดกำเนิดของปฏิกิริยาเคมีระหว่างเอนไซม์กับสารต่างๆ ในร่างกาย พลังงานที่สร้างขึ้นนี้ถูกดึงออกมาจากสารเคมีโดยเอนไซม์ ตัวอย่างเช่น นำเมล็ดถั่วดิบใส่ลงไปในหม้อน้ำเดือดเมื่อนำมาปลูกถั่วที่ผ่านการต้มสุกแล้วก็ไม่สามารถงอกออกมาเป็นต้นได้ นั้นหมายถึงพลังงานดังกล่าวถูกดึงออกหรือถูกทำให้สูญเสียไป เมื่อคุณศึกษาวิทยาศาสตร์คุณก็สามารถรู้ได้ว่าสิ่งมีชีวิตที่ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้นที่สามารถสร้างเอนไซม์ขึ้นมาได้โดยใช้พลังงานดังกล่าวนั้น เนื่องจากสารเคมีจะมีผลต่อการกระตุ้นการทำงานของปฏิกิริยาเคมีเท่านั้นซึ้งแตกต่างจากเอนไซม์ที่สามารถกระตุ้นการทำงานได้ทั้งปฏิกิริยาเคมีและปฏิกิริยาชีวภาพ ตัวกระตุ้นปฏิกิริยาทางเคมี (catalyst) จะไม่มีพลังงานเหล่านี้เหมือนกันเอนไซม์และพลังงานเหล่านี้ก็ไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นมาได้ พูดง่ายๆ ก็คือพลังงานนี้เปลี่ยนเสมือนกับกระแสไฟฟ้าที่ช่วยให้หลอดไฟสว่างขึ้นได้

Q: เอนไซม์มีกี่ชนิด

A: เอนไซม์สามารถแบ่งออกมาได้เป็นกลุ่มหลัก 3 กลุ่ม ได้แก่

  1. เอนไซม์ที่มีหน้าที่ในการย่อยสลายอาหาร
  2. เอนไซม์ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับเมตมบอลิซึม
  3. เอนไซม์ที่มีอยู่ในอาหาร ( food enzyme

เอนไซกลุ่มที่1จะถูกหลั่งออกมาจากต่อมน้ำลาย กระเพราะอาหารตับอ่อนและลำไส้เล็ก เอนไซเหล่านี้จะช่วยย่อยอาหารที่เรากินให้มีขนาดที่เล็กลง ดังนี้สารอาหารทั้ง 45 ชนิดก็สามารถถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้เอนไซม์กลุ่มที่2เป็นเอนไซม์ที่มีหน้าที่เหมือนกับตัวกระตุ้นปฏิกิริยาภายในเซลล์ ซึ้งจะมีหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างพลังงานเอนไซม์กลุ่มที3เป็นเอนไซม์ที่มีอยู่ในอาหารแต่เมื่อนำอาหารไปปรุงสุกแล้วจะทำให้สูญเสียสภาพธรรมชาติของเอนไซม์ไป เอนไซม์ทำงานอย่างไรในร่างกาย

เมื่อเรากินอาหารสดเอาไซม์ในอาหารจะถูกกระตุ้นให้ทำงานได้โดยความร้อนและความชื้นภายในช้องปากเมื่อได้รับการกระตุ้นเอนไซม์เหล่านี้จะทำการย่อยสลายอาหารให้มีขนานเล็กลงพอที่ถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์ และผ่านเข้าสู้กระแสเลือดได้ต่อจากนั้นจะมีเมตาบอลิซึมของเอนไซม์ในการใช้สารอาหารเหล่านั้นเพื่อนำมาสร้างเป็นกล้ามเนื้อเส้นประสาทต่อมต่างๆกระดูกเม็ดเลือดปอดและอวัยวะอื่นๆโดยที่เซลล์ในร่างกายจะมีความจะเพาะต่อกลุ่มของเอนไซม์ต่างกันและเอนไซม์แต่ละชนิดก็จะทำหน้าที่แตกต่างกันออกไปเช่นเอนไซม์ย่อยโปรตีนก็จะไม่ย่อยสลายไขมันเอนไซม์ย่อยไขมันก็จะไม่ย่อยสลายแป้งเอนไซม์จะทำปฏิกิริยาในการเปลี่ยนแปลตัวเองหลังจากเกิดปฏิกิริยาแล้วจาแหตูผลทีว่าสารเคมีในร่างกายของเราจะเปลี่ยนไปเป็นอีกสารชนิดหนึ่งโดยการร่วมตัวจากเอนไซม์ดังนั้นถ้าไม่มีเอนไซม์ร่างกายก็ไม่สามารถทำงานได้

Q: เคยได้ยินว่าเอนไซม์จะถูกทำลาย ในสภาวะที่เป็นกรดของกระเพาะอาหาร จริงหรือไม่

A: จากข้อมูลที่ว่าโครงสร้างของเอนไซม์จะถูกทำลายในสภาวะความเป็นกรดของกระเพาะอาหารนั้นยังเป็นทฤษฎีที่ยึดถือกันในหมู่นักวิจัย อย่างไรก็ตามมีการค้นพบใหม่เมื่อเร็วๆ นี้ว่า เมื่อเอนไซม์เคลื่อนที่เข้าสู่กระเพาะอาหารจะถูกทำให้เสียสภาพการทำงานไปเท่านั้น เนื่องจากความเป็นกรดในกระเพาะอาหารสูงเมื่อเอนไซม์เคลื่อนที่มาถึงลำไส้เล็กซึ้งมีสภาวะเป็นด่าง เอนไซม์จะสามารถกลับสู่สะภาวะที่ทำงานได้อีกครั้งหนึ่ง เพื่อทำให้เกิดการย่อยสลายที่สมบูรณ์แต่การกินอาหารทีผ่านปรุงสุกแล้วแล้ว ร่างกายจะไม่ได้รับเอนไซม์เพิ่มจากอาหารนั้นเนื่องจากเอนไซม์ถูกทำลายโดยความร้อนไปแล้ว ดังนั้นการย่อยสลายอาหารจึงขึ้นอยู่เพียงว่าร่างกายสามารถสร้างเอนไซม์ขึ้นมาใช้ในการย่อยสลายอาหารได้เพียงพอหรือไม่

Q: ถ้าเอนไซม์ถูกทำลายโดยการปรุงอาหารแล้วแล้วเราจะได้รับเอนไซม์เพิ่มจากทางใดได้บ้าง

A: มีอยู่2ทางคือการกินอาหารสดหรืออาหารเสริมเอนไซม์สกัดจากพืชเพิ่มเติมแม้ร่างกายเราสามารถสร้างเอนไซม์ได้แต่เอนไซม์ส่วนมากที่สร้างขึ้นจะถูกใช่ไปในการย่อยอาหารมีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ถูกใช้ในการรักษาสมดุลของสุขภาพร่างกายและสิ่งที่สำคัญมากที่สุดนั้นคือเราต้องรักษาความสามารถในการสร้างเอนไซม์ของร่างกายให้เป็นปกติไม่เช่นนั้นพลังงานชีวิตของร่างกายจะลดต่ำลงเป็นผลให้สุขภาพร่างกายไม่ดีตามไปด้วย

Q: คุณจะรักษาระดับของเอนไซม์ในร่างกายได้อย่างไร

A: ร่างกายของเราจะมีเอนไซม์มาตั้งแต่เกิดแล้วอย่างไรก็ตามแหล่งที่มาของเอนไซม์ในร่างกายไม่ได้มาจากการสร้างขึ้นภายในร่างกายเพียงอย่างเดียวควรกินอาหารสดมากเท่าที่จะได้หรือรับเอนไซม์เสริมได้จากพืชเพื่อเป็นการเสริมศักยภาพของเอนไซม์ของคุณถ้าคุณไม่สามารถทำตามข้อแนะนำได้ก็อาจเกิดผลเสียต่อสุขภาพทำให้ป่วยอย่างหนักหรือถึงขั้นเสียชีวิตได้

Q: จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเอนไซม์ที่มีอยู่ในร่างกายหมดไป

A: มีรายงานการวิจัยในหนูและไก่ที่กินอาหารผ่านการปรุงสุขแล้วพบว่าตับอ่อนจะมีขนานใหญ่ขึ้นเนื่องจากการขาดภาวะเอนไซม์ในการย่อยอาหารยิ่งกว่านั้นสัตว์เหล่านั้นเกิดอาการป่วยและมีการเจริญเติมโตช้าลงตับอ่อนนั้นมีหน้าที่ในการสร้างและหลั่งเอนไซม์หรือย่อยอาหารให้มากขึ้นสัตว์เคี้ยวเอื้องเช่นวัวแพะกวางและแกะอย่างไรก็ตามเมื่อให้สัตว์พวกนี้กินอาหารที่ผ่านความร้อนซึ่งเอนไซม์ในอาหารถูกทำลายไปตับอ่อนของสัตว์พวกนี้จะมีขนานขึ้นถึง3เท่าสุขภาพที่ทรุดโทรมจะมีผลเสียอย่างมากเมื่อเรายังกินอาหารที่ปรุงเพิ่มเข้าไปอีกมีการแสดงให้เห็นในการวิจัยของมหาวิทยาลัย โดยนำสุนัขมาสกัดเอนไซม์จากตับอ่อนออกให้หมดพบว่าถึงจะให้อาหารและน้ำตาลตามที่สุนัขต้องการสุนัขทุกตัวที่ใช้ในการทดรองจะเสียชีวิตในระยะเวลาเพียงอาทิตย์เดียวเท่านั้นแสดงว่าการขาดเอนไซม์จากตับอ่อนสามารถส่งผลให้เสียชีวิตได้

Q: มีสิ่งอื่นอีกไหมที่แสดงว่าเราใช้เอนไซม์อย่างไม่รู้คุณค่า

A: มีเพียงมนุษย์เท่านั้นที่มีชีวิตอยู่ได้เป็นเวลานานแม้ว่ากินอาหารที่ไม่มีเอนไซม์สัตว์ป่าทุกชนิดต้องการเอนไซม์จากอาหารสดทั้งนั้นสัตว์ป่าที่กินอาหารสดนั้นไม่ต้องการกิจกรรมของเอนไซม์สูงในน้ำย่อยซึ่งต่างจากมนุษย์ตัวอย่างเช่นกวางช้างและสัตว์เคี้ยวเอื้องอื่นๆจะไม่มีเอนไซม์ในน้ำลายเมื่อเราทำการตรวจสอบน้ำลายมนุษย์พบว่ามีความเข้มข้นของเอนไซม์ที่ใช่ย่อยแป้ง สูงมากเมื่อสุนัขหรือแมวกินอาหารสดซึ่งเป็นเนื้อสดตามธรรมชาติเข้าไปแล้วทำให้ในน้ำลายสุนัขไม่จำเป็นต้องมีเอนไซม์อย่างไรก็ตามเมื่อสุนัขกินคาร์โบไฮเดรตซึ่งผ่านความร้อนเข้าไปเป็นจำนวนมากในระยะเวลา1อาทิตย์จะสามารถพบเอนไซม์ในน้ำรายของมันได้นั้นแสดงให้เห็นว่าพวกเรากำจัดเอนไซม์ทิ้งไปจากการทำอาหารสุกทำให้ร่างกายเราต้องปรับตัวโดยการผลิตเอนไซม์ที่ใช้ในการย่อยอาหารเพิ่มมากขึ้นสิ่งอื่นที่แสดงว่าว่าเราได้ใช้เอนไซม์ไปอย่างไม่รู้คุณค่านั้นคือสัตว์ป่าจะมีขนาดของตับอ่อนเล็กกว่าเรานั้นแสดงว่าสัตว์ป่านั้นใช้เอนไซม์จากตับน้อยกว่าที่เราใช้

Q: เอนไซม์ทำงานในการย่อยอย่างไร

A: เมื่อเรากินอาหารสดเข้าไปกิจกรรมของเอนไซม์จะเริ่มขึ้นทันทีเมื่อผนังเซลล์ถูกทำให้แตกโดยการเคี้ยวหลังจากกลืนอาหารลงไปการย่อยจะยังคงดำเนินต่อไปจนถึงบริเวณกระเพาะส่วนบน ซึ้งใช้เวลานานครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมงจนถึงจุดความเป็นกรดในกระเพาะอาหารหยุดการทำงานของเอนไซม์ต่อจากนั้นเอนไซม์ในกระเพาะอาหาร จะทำหน้าที่ต่อไปมีจุดที่หน้าสังเกตว่าในเวลาครึ่งชั่วโมงหรืออาหารที่อยู่ในกระเพาะอาหารส่วนบนเอนไซม์จากอาหารสดจะย่อยสลายคาร์โบไฮเดรตไขมันและโปรตีนอย่างไรก็ตามถ้าคุณกินอาหารที่ปรุงสุกซึ่งหมายถึงไม่มีเอนไซม์ในอาหารในเวลา1ชั่วโมงอาหารก็ยังคงอยู่ในสภาพเดิมในเวลานี้เกลือแร่เท่านั้นที่จะถูกสลายออกมาเอนไซม์ในน้ำลายจะทำหน้าที่ย่อยคาร์โบไฮเดรตแต่จะไม่มีการย่อยโปรตีนและไขมันซึ่งเป็นช่วงที่เหมาะสมที่ใช้เอนไซม์ย่อยอาหารเหล่านั้นถ้าเพิ่มเอนไซม์จากพืชลงในเนื้อสัตว์เอนไซม์จะทำหน้าที่ย่อยสลายทันทีซึ่งเอนไซม์จากพืชจะทำหน้าที่ย่อยโปรตีนคาร์โบไฮเดรตและไขมันในเวลา1ชั่วโมงหรือขณะที่อาหารยังคงอยู่ที่กระเพาะอาหารส่วนบนเอนไซม์จากพืชจะทำหน้าที่ย่อยสลายอาหารซึ่งจะช่วยให้กระเพาะอาหารไม่ต้องปลดปล่อยเอนไซม์จำนวนมากเกินไปซึ่งจะมีผลในการช่วยรักษาศักยภาพของเอนไซม์และพลังงานของร่างกายทำให้ร่างกายมีเมตาบอลิซึมของเอนไซม์มากขึ้นส่งผลให้อวัยวะและเนื้อเยื่อต่างๆสามารถทำงานได้ดีขึ้น

Q: ฉันบอกกับหมอว่าจะกินเอนไซม์เสริมแต่หมอกับบอกว่าไม่ได้มีประโยชน์ต่อร่างกายเลยทำไมเข้าถึงบอกเช่นนั้น

A: เนื่องจากเอนไซม์ทำงานให้ร่างกายเราตลอกชีวิตดังนั้นจึงมีผู้เชี่ยวชาญทางการเพทย์หลายคนเชื่อว่าไม่จำเป็นต้องรับเอนไซม์เสริมให้แก่ร่างกายและยังมีแพทย์อีกหลายคนเชื่อว่ากานเสริมเอนไซม์เข้าไปในร่างกายนั้นไม่ได้ให้ประโยชน์อะไรต่อร่างกายเลยเนื่องจากเอนไซม์จะถูกทำลายไปในกระเพาะอาหารขณะเกิดการย่อยอาหารอย่างไรก็ตามมีรายงานการวิจัยที่ยอมรีบถึงการใช้เอนไซม์จากพืชในการย่อยสลายอาหารรวมถึงการยอมรับศักยภาพในการทำงานของเอนไซม์มาเป็นเวลานานมากกว่า65ปีข้อมูลูล่าสุดที่ทำการศึกษานั้นได้มาจากการศึกษากับมนุษย์เองไม่ใช้การศึกษากับสัตว์ทดลองในปีค.ศ.1992-1993 จากมหาวิทยาลัยทำการศึกษาโยใช้ผู้ป่วยที่ผ่านการผ่าตัดแบบ (การผ่าตักลำไส้ใหญ่ออกทำให้ระบบทางเดินอาหารสั้นลง)หลังจากผ่าตัดผู้ป่วยจะมีระบบทางเดินอาหารที่สั้นลงแค่ลำไส้เล็กส่วนปลายเท่านั้นการศึกษาผู้ป่วยในลักษณะนี้สามารถตรวจสอบประสิทธิภาพได้ของกระบวนการย่อยอาหารได้ไม่ว่าจะเป็นอาหารประเภทได้ผลจากการศึกษานี้ได้แสดงให้เห็นว่าเอนไซม์ในอาหารนั้นไม่เสียสภาพธรรมชาติไปในระหว่างที่เกิดการย่อยอาหารและยังเพิ่มปริมาณสารอาหารที่ได้จากการย่อยสลายอีกด้วยดังนั้นการเสริมเอนไซม์สามารถเพิ่มอัตราการย่อยสลายอาหารแก่อาหารทุกชนิดได้

Q: อาหารสดสามารถกระตุ้นเอนไซม์หลั่งออกมามากกว่าอาหารปรุงสุขหรือไม่

A: การกินอาหารสดไม่ได้กระตุ้นให้เกิดการหลั่งของเอนไซม์ออกมามากกว่าการกินอาหารปรุงสุกแต่เมื่อกินอาหารสดกรดภายในกระเพาะจะถูกหลั่งออกมาน้อยมากเนื่องจากสภาวะเช่นนี้จะช่วยให้เอนไซม์ในอาหารสามารถทำงานได้ระยะเวลาน้อยกว่า

Q: เคยได้ยินมาว่าเอนไซม์จะไม่เสียสภาพการเมื่อถูกใช้งานไปแล้วจริงหรือไม่

A: เอนไซม์จะไม่ถูกทำลายหรือถูกใช้จนหมดไปหรือถูกใช่จนหมดไปขณะที่เอนไซม์นั้นยังทำงานอยู่แต่มีงานวิจัยของมาหาวิทยาลัย โต้แย้งกับทฤษฎีนี้โดยพบว่าเอนไซม์จะทำงานได้ดีที่อุณหภูมิสูงมากกว่าอุณหภูมิต่ำอุณหภูมิที่สูงกว่าทำให้เกิดกิจกรรมของเอนไซม์ได้เร็วกว่าซึ้งขัดแย้งกับทฤษฎีที่กล่าวว่าเอนไซม์ไม่ได้ถูกใช่แล้วหมดไปเพราะเมื่อเราเป็นไข้เอนไซม์ในร่างกายจะทำงานได้เร็วกว่าอุณหภูมิร่างกายปกติและพบว่าเมื่อไข้ลดและเอนไซม์จำนวนมากถูกตรวจพบในปัสสาวะยังมีรายงานว่ามนุษย์มีระดับของเอนไซม์ในการย่อยแป้งในเลือดที่ต่ำที่สุดและมีเอนไซม์ในปัสสาวะในระดับที่สูงที่สุดเมื่อเทียบกับสิ่งมีชีวิตอื่นนั้นหมายถึงเอนไซม์ในร่างกายเราถูกใช้หมดไปอย่างรวดเร็ว

Q: ร่างกายเราสามารถสร้างเอนไซม์ทดแทนที่เราใช้หรือขับออกไปได้หรือไม่

A: ร่างกายเราสามารถสร้างเอนไซม์ขึ้นมาทดแทนได้แต่มีการวิจัยที่ยืนยันว่าเอนไซม์สามารถทำลายตัวเองเพื่อบังคับให้ร่างกายสร้างเอนไซม์ออกมาเป็นจำนวนมากๆซึ่งจะไม่เป็นผลต่ออวัยวะหรือเนื้อเยื่อต่างๆความเครียดและการทำงานหนักในสถานที่ร้อนอบอ้าวเป็นผลให้เกิดการใช้เอนไซม์ไปอย่างมากมายส่งผลให้ช่วงชีวิตของคุณสั้นลงเมื่อคุณต้องศูนย์เสียเอนไซม์ไปคุณมีวิธีแก้เพียงอย่างเดียวเท่านั้นคือคุณต้องรับเอนไซม์เสริมจากภายนอกซึ่งเป็นเส้นทางลัดซึ่งช่วยให้เกิดการสร้างเอนไซม์ที่ใช้ในการย่อยสลายและเพิ่มเอนไซม์บอลิซึมของเอนไซม์ให้มากขึ้น

Q: เมื่ออายุมากขึ้นความสามารถในการสร้างเอนไซม์จะลดลงหรือไม่

A: จากการวิจัยพบว่าวัยรุ่นจะมีเอนไซม์ในน้ำลายมากกว่าคนอายุ60-90ปีถึง30เท่าและยังพบอีกว่าเมื่อเปรียบเทียบระดับของเอนไซม์ ในปัสสาวะของวัยรุ่นจะมีปริมาณสูงกว่าคนในชราและยังมีข้อมูลแสดงให้เห็นอีกว่าหมูและสัตว์ทดลองชนิดอื่นจะมีชีวิตยืนยาวขึ้นเมื่อกินอาหารในปริมาณที่น้อยลงความต้องการเอนไซม์ในการย่อยสลายก็ลดลงตามไปด้วยซึ่งจะช่วยให้เอนไซม์ที่สร้างขึ้นมีศักยภาพในการย่อยที่ดีขึ้นและช่วยยืดอายุและทำให้ร่างกายต้านทานต่อโรคได้

Q: ทำไมร่างกายจึงสร้างเอนไซม์ได้น้อยลงเมื่ออายุมากขึ้น

A: Bartos และ Groh ทดลองนำวัยรุ่นและชาย10คนและผู้สูงอายุชาย10คนมาฉีดยากระตุ้นการหลั่งของน้ำย่อยจากตับอ่อนโดยน้ำย่อยจะถูกดูดออกมาเพื่อนำมาตรวจวิเคราะห์พบว่าในน้ำย่อยของชายสูงอายุจะมีเอนไซม์ อยู่น้อยมากการขาดเอนไซม์นี้ในกลุ่มชายสูงอายุเป็นผลจากการเสื่อมสภาพของเซลล์ตับอ่อนนั้นเองและยังมีการวิจัยอื่นที่พบว่าเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้นเอนไซม์ที่ลดลงไม่ได้มีแต่เฉพาะในตับอ่อนเท่านั้นแต่รวมถึงเซลล์อื่นๆด้วยจำนวนในล้านๆเซลล์ในร่างกายของเราด้วยเหตุผลหนึ่งนั้นคือตับอ่อนไม่วามารถสร้างเอนไซม์ออกมาเพียงพอต่อความต้องการอีกครั้งยังมียังมีความต้องการโปรตีนอีกจำนวนมากเพื่อสร้างให้เป็นเอนไซม์ที่สมบูรณ์ ดังนั้นตับอ่อนจึงต้องดึงสารเหล่านี้จากแหล่งต่างของเซลล์ร่างกายเพื่อนำมาสร้างเอนไซม์ที่สมบรูณ์บางที่ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ร่างกายแก่ลงอายุที่เพิ่มขึ้นจะมีผลต่อเมตาบอลิซึ่มของเอนไซม์ที่ลดลงถ้าเราสามารถยับยั้งการทดลองของเมตาบอลิซึ่มของเอนไซม์ได้เราก็สามารถชะลอความแก่ได้

Q: การเสริมเอนไซม์สามารถชะลอความแก่ได้หรือไม่

A: อาจเป็นไปได้มีการวิจัยที่แสดงให้เห็นว่าหนูที่ได้รับการเสริมเอนไซม์จะมีปริมาณเอนไซม์มากกว่าหนูที่ไม่ได้รับการเสริมเอนไซม์แสดงให้เห็นว่าเอนไซม์นั้นจะมีศักยะภายที่จะคงอยู่ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตของศักยภาพดังกล่าวจะลดน้อยลงตามระยะเวลาอีกทั้งยังขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและความเครียดถ้าเรากินอาหารที่ไม่มีเอนไซม์อยู่เลยบางทีเราอาจต้องใช้เอนไซม์จำนวนมากในการย่อยสลายและมันจะหมดไปอย่างรวดเร็วซึ่งทำให้ตับอ่อนและอวัยวะอื่นๆทีมีส่วนช่วยในการย่อยสลายอาหารต้องทำงานหนักเกินไปผลที่เกิดขึ้นจะทำให้ช่วงชีวิตสั้นลงป่วยและความต้านทานต่อความเครียดลดลงการกินอาหารที่มีเอนไซม์อยู่หรือการเสริมเอนไซม์ในรูปแคปซูลสามารถช่วยยับยั้งความผิดปกติและชะลอความแก่ได้ซึ่งจะเห็นได้จากหนูที่ได้รัยเอนไซม์เสริมจะมีอายุนานถึง3ปีเมื่อเปรียบเทียบกับหนูที่กินอาหารที่ขาดเอนไซม์ซึ่งจะมีอายุเพียง2ปีเท่านั้น

Q: เคยได้ยินว่าชาว Eskimo เจ็บป่วยจากโรคภัยไข้เจ็บน้อยมากเป็นเพราะอะไร

A: คำว่า หมายถึงพวกเข้ากินของดิบเนื่องจากสภาพแวดล้อมและวิธีชีวิตของชาว นั้นทำให้เราเข้าใจว่าทำไมชาว ถึงมีสุขภาพที่ดีมากสิ่งหนึ่งคือชาว สามารถรักษาสมดุลของเอนไซม์ในร่างกายโดยการนำเอาเอนไซม์จากภายนอกมาช่วยในกานย่อยสลายอาหารเนื่องจากแถบอาร์กติกไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืชพรรณชาว จึงปรับตัวโดยการกินอาหารสด(เนื้อสัตว์)อาหารสดนั้นไม่ได้ให้แต่พลังงานเท่านั้นหากยังรักษาสมดุนของสุขภาพและสามารถป้องกันโรคให้กับชาว ได้ซึ่งผลดังกล่าวได้มาจากเอนไซม์ในอาหารสดที่มีชื่อว่า โดยจะพบมากในเนื้อและปลามีหน้าที่หลักในการย่อยสลายสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้วชาว จึงใช้เอนไซม์นี่ย่อยสลายตังเองก่อนที่จะกินอาหารที่ผ่านกระบวนการดั่งกล่าวจะมีเอนไซม์ และ เป็นจำนวนมากซึ่งเป็นการลดการใช้เอนไซม์ของชาว ดังนั้นความลับของการมีสุขภาพดีของชาว นั้นไม่ได้อยู่ที่การกินเนื้อสัตว์หลากหลายชนิดหากแต่อยู่ที่พวกเขาสามารถลดการสูญเสียเอนไซม์ในร่างกายสำหรับการย่อยอาหารโดยใช้เอนไซม์ในร่างกานสำหรับการย่อยอาหารโดยใช้เอนไซม์จากแหล่งธรรมชาตินั้นเอง

Q: เอนไซม์ทำงานในกระเพาะอาหารอย่างไร

A: เมื่ออาหารเข้าสู่กระเพาะอาหารเราจะเรียกว่า กระเพาะอาหารจะถูกแบ่งออกเป็น2ส่วนได้แก่ (ส่วนบน) และ (ส่วนล่าง) จะอยู่ในกระเพาะอาหารส่วนบนประมาณ1ชั่วโมงและจะมีการย่อยขั้นตอนเกิดขึ้นซึ่งเกิดจากเอนไซม์จากอาหารซึ่งจะย่อยสลาย จนได้คาร์โบไฮเดรตและไขมันและโปรตีนเนื่องจากในอาหารสดมีเอนไซม์อยู่ในอาหารอยู่แล้วดังนั้นจะช่วยให้กระเพาะอาหารไม่ต้องหลั่งเอนไซม์ออกมาทำหน้าที่เองทั้งหมดส่วนในอาหารที่ปรุงสุกจะไม่มีเอนไซม์เหลืออยู่เลยดังนั้นอาหารดังกล่าวจะต้องรออยู่ในกระเพาะอาหารส่วนบนก่อนเพื่อรอให้กระเพาะส่วนล้างหลั่งเอนไซม์ออกมาในการย่อยสลายขั้นตอนนั้นจะเกิดขั้นกับสัตว์ทุกชนิดบนโลกนี้ยกเว้นมนุษย์เท่านั้นที่กินอาหารที่ปรุงสุกแล้วเนื่องจากในส่วนต้นของกระเพาะอาหารไม่มีการหลั่งเอนไซม์ และเมื่อไม่มีเอนไซม์นี้จากแหล่งภายนอกอาหารที่อยู่ในกระเพาะส่วนบนจึงถูกย่อยได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้นในส่วนล้างของกระเพาะอาหารจะมีการย่อยอาหารครั้งที่2เกิดขึ้นแต่จะมีการย่อยเฉพาะโปรตีนเท่านั้นโดยเป็นผลจากกิจกรรมของเอนไซม์ และกรดไฮโดคลอริกอาหารที่ถูกย่อยมาก่อนแล้วจะถูกส่งเข้าลำไส้เล็กจะหลั่งเอนไซม์ซึ่งจะย่อยสลาย ไปเป็นกลูโคส กรดไขมันและกรดอะมิโนสำหรับใช้เซลล์ ดูดซึมได้กระเพาะอาหารของมนุษย์ถูกแบ่งออกเป็น2ส่วนตามลักษณะหน้าที่ในการทำงานหนึ่งในนั้นเป็นส่วนที่จะได้รับเอนไซม์จากภายนอกเข้ามาช่วยในการย่อยสลายอาหารดังนั้นร่างกายจึงไม่ต้องสร้างเอนไซม์ออกมาย่อยอาหารเองทั้งหมดซึ่งส่งผลให้ร่างกายเรามีเบตาบอลิซึ่มของเอนไซม์มากขึ้นตามที่เราต้องการและทำให้สุขภาพของเราดีขั้นด้วย

Q: เอนไซม์ในอาหารสามารถทำให้เราต้านทานต่อโรคได้หรือไม่

A: ในเรื่องนี้จะเกี่ยวกับความแข็งแรงของสุขภาพร่างกายระบบภูมิคุ้มกันและระดับของเอนไซม์ในร่างกายถ้าเรามีระดับเอนไซม์ในร่างกายสูงระบบภูมิคุ้มกันของเราก็จะดีตามไปด้วยผลที่ได้ก็คือสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้นตัวอย่างเช่นในเม็ดเลือดขาวจะมีเอนไซม์ ที่แตกต่างกันอยู่8ชนิดซึ่งเป็นกรไกในการช่วยให้เม็ดเลือกขาวต่อต้านต่อสิ่งแปลกปลอมและเปลี่ยนสิ่งแปลกปลอมนั้นให้อยู่ในรูปที่ร่างกายสามารถกำจัดทิ้งออกไปได้มีผลจากการวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่าเมื่อเรากินอาหารที่ผ่านการปรุงสุกปริมาณของเม็ดเลือดขาวจะเพิ่มสูงขึ้นซึ่งร่างกายจะสร้างขึ้นมาเพื่อรักษาสมดุลของเอนไซม์ที่ถูกดึงไปจากส่วนต่างๆของร่างกายเพื่อนำไปใช้ในการย่อยอาหารแต่เมื่อเปลี่ยนมากินอาหารสดกลับพบว่าปริมาณของเม็ดเลือดขาวไม่ได้เพิ่มขึ้นเลยและยังมีการศึกษาพบว่าเอนไซม์นั้นยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับโรคทุกโรคที่เกิดขึ้นผ่านทางระบบภูมิคุ้มกันดังนั้นจะเห็นได้ว่าเมื่อระบบการสร้างเอนไซม์ชนิดใดชนิดหนึ่งเสียไปร่างกายทุกส่วนก็จะได้รับผลกระทบเราจึงควรได้รับเอนไซม์เสริมจากภายนอกเช่นการกินอาหารสดหรือการกินเอนไซม์เสริมเพื่อนำมาใช้ในการต่อต้านโรคต่าง

Q: เอนไซม์มีผลต่อระบบต่อมไร้ท่อของเราอย่างไร

A: ในการกินอาหารที่ผ่านการปรุงสุขจะทำให้ต่อมไร้ท่อทำงานหนักซึ้งมีผลให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงโรคเบาหวานและโรคอ้วนในระบบต่อมไร้ท่อโดยเฉพาะต่อไทรอยด์และสมองส่วน hypothalamus จะทำงานควบคู่ในการในการควบคุมอยากอาหารต่อมพวกนี้จะรับรู้ทันทีที่ว่าร่างกายต้องการอาหารเพียงพอแล้วหรืออาการอิ่มนั้นเองซึ้งจะเป็นปิดความต้องการของสมองการกินอาหารสดนั้นจะช่วยลดภาวะตึงเครียดของระบบต่อมไร้ท่อแต่ถ้าในอาหารสูญเสียเอนไซม์ไปจากการปรุงแล้วระบบต่อมไร้ท่อแต่ถ้าในอาหารสูญเสียเอนไซม์ไปจากการปรุงสุกแล้วระบบต่อมไร้ท่อจะขาดสารอาหารจึงทำไห้เกิดการกระตุ้นการทำงานของอวัยวะที่เกี่ยวกับการย่อยอาหารความต้องการอาหารก็จะเพิ่มขึ้นส่งผลให้เกิดการหลั่งโฮโมนจากต่อมต่างๆมากเกินไปการกินอาหารจึงเพิ่มขึ้นอ้วนขึ้นการผลิตโฮโมนก็มากเกินความจำเป็นสักกะยะภาพของเอนไซม์จะลดต่ำลงเนื่องจากต้องถูกนำมาใช้ในการเพิ่มเมตาบอลิซึ่ม การกินอาหารที่ปราศจากเอนไซม์เป็นสาเหตุให้ต่อม ไทรอยด์ต่อม และต่อมสืบพันธุ์ทำงานผิดปกติซึ่งคุณควรรู้ในความจริงที่ว่าระบบหมุนเวียนโลหิตระบบประสาทระบบต่อมไร้ท่อและระบบการย่อยอาหารล้วนแต่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์ทั้งสิ้น

Q: เอนไซม์มีผลต่อต่อม Pituitary อย่างไร

A: การกินอาหารที่ขาดเอนไซม์เป็นระยะเวลานานจะมีผลรุนแรงต่อขนาดและลักษณะของต่อม ของสัตว์ที่กินอาหารพร่องเอนไซม์จะถูกทำรายเช่นเดียวกันกับมนุษย์ที่กินอาหารที่ผ่านการปรุงสุกแล้วลักษณะที่เปลี่ยนไปของต่อมนี้จะมีผลต่อการลำเลียงเลือดที่แย่ลงปริมาณของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเพิ่มขึ้นและเกิดการเปลี่ยนแปลของเซลล์ของต่อม มีการทดลองโดยนำสัตว์ทดลองมาผ่าตัดต่อมออก พบว่าปริมาณเอนไซม์ลดลงได้อย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับสัตว์ที่ปกติซึ่งแสดงให้เห็นว่าฮอร์โมนมีผลต่อกิจกรรมของเอนไซม์และเอนไซม์ก็จำเป็นต่อการสร้างฮอร์โมน

Q: เอนไซม์สามารถควบคุมน้ำหนักได้หรือไม่

A: ความอ้วนนั้นเกิดจากร่างกายขาดเอนไซม์lipase ซึ่งสามารถพบได้ในอาหารสดแต่จะถูกทำลายไปด้วยการปรุงอาหารสุกเมื่อไม่มีเอนไซม์นี้ก็จะเกิดการรวมตัวของไขมันที่หลอดเลือดซึ่งจะนำไปสู่การเป็นโรคหัวใจเอนไซม์มีประโยชน์ในการไขมันให้เป็นพลังงานดังนั้นการกินอาหารปรุงสุกจึงทำให้เราอ้วนได้มากกว่าการกินอาหารสดตัวอย่างเช่นคนที่เลียงสุกรจะไม่ให้สุกรของตนกินมันฝรั่งดิบเพราะมีผลให้สุกรดูซูบผอมแต่จะให้กินมันฝรั่งที่ต้มสุกแล้วซึ่งจะได้สุกนที่อ้วนท้วนท้วนสมบรูณ์อีกเหตุผลหนึ่งที่สามารถอธิบายว่าทำไมเอนไซม์จึงช่วยควบคุมน้ำหนักได้นั้นคือการกินอาหารที่ปรุงสุกแล้วจะมีผลต่อต่อม อีกทั้งเอนไซม์จะมีผลต่อฮอร์โมนและฮอร์โมนก็มีผลต่อละดับของเอนไซม์ดังนั้นการกินกาหารปรุงสุกที่ปราศจากเอนไซม์ในอาหารก็จะเป็นการเอนไซม์จากแหล่งอื่นเช่นตับอ่อนไทรอยด์และต่อม เพื่อนำไปใช้ในกระบวนการย่อยอาหารผลที่ตามมาจะทำให้ร่างกายรู้สึกเฉื่อยชาและน้ำหนักตัวจะเพิ่มขึ้นดังนั้นแคลอรีที่ได้รับจากอาหารสดนั้นจะไม่มีผลในการกระตุ้นต่อมต่างๆให้ผลิตเอนไซม์อีกทั้งยังรักษาสมดุลน้ำหนักร่างกายไว้ได้มากกว่าการได้รับแคลอรีจากอาหารที่ผ่านการปรุงสุกแล้ว

Q: แคลอรีจากอาหารสดแตกต่างจากแคลอรีจากอาหารปรุงสุกอย่างไร

A: อาหารที่ปรุงสุกแล้วจะมีผลต่อการเพิ่มปริมาณน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งมีการทดลองโดยนำผู้ป่วยเบาหวานและคนปกติให้มากินแป้งดิบและทำการตรวจวัดปริมาณน้ำตาลในเลือด พบว่าหลังจากกินแป้งดิบ ผู้ป่วยเบาหวานจะมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น 6 มิลลิกรัมภายในครึ่งชั่วโมงแรก และ ลดลงมา9 มิลลิกรัมหลังจากผ่านไป 1 ชั่วโมง และลดลงไปถึง 14มิลลิกรัม เมื่อเวลาผ่านไป 2 ชั่วโมง ในขณะที่ปริมาณน้ำตาลในเลือดของคนปกติจะเพิ่มขึ้นน้อยมาก แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างแคลอรีที่ได้จากอาหารสดกับ แคลอรีที่ได้จากอาหารปรุงสุก




คำถาม-คำตอบ




Copyright © 2010 All Rights Reserved.